Mombiestreet
Mombiestreet
@mombiestreet

ของเล่นสำคัญอย่างไรกับลูก?

ของเล่นสำคัญอย่างไรกับลูก?

ของเล่นสำคัญอย่างไรกับลูก?

ของเล่นเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งสำหรับเด็ก หรือถือได้ว่าเป็นงานหลักสำหรับเด็กเลยก็ว่าได้ เพราะนอกจากจะได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการเล่นแล้ว ยังเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาทักษะทั้ง 4 ด้าน อย่างเป็นธรรมชาติ ได้แก่

1.       พัฒนาการด้านร่างกาย เด็กๆจะได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก จากการ หยิบ จับ กด หยอด และกล้ามเนื้อมัดใหญ่จากการ ดึง ลาก การทรงตัว รวมไปถึงการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างมือและตา


2. พัฒนาการด้านสติปัญญา เด็กๆ จะได้พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา การลองผิดลองถูก การจินตนาการ การคิดสร้างสรรค์


3. พัฒนาการด้านอารมณ์ ของเล่นทุกอย่างแฝงไว้ด้วยความสนุกสนาน เมื่อเด็กเล่นก็จะมีความสุข และสดงออกด้วยการยิ้ม หัวเราะ ปรบมือ


4. พัฒนาการด้านสังคม การเล่นของเล่นเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นผ่านการเล่นของเล่น ทำให้เด็กรู้จักที่จะแบ่งปัน เคารพในกติกา

ซึ่งพัฒนาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติ ระหว่างการเล่นของเล่น

 

Related Articles
น้ำนมแม่: คืออะไร?
น้ำนมแม่: คืออะไร?
30 พฤษภาคม 2023 19:33
เชื่อว่าไม่มีใครไม่รู้จัก น้ำนมแม่ อย่างแน่นอน แต่วันนี้เราจะพาไปเจาะให้ลึกขึ้น ว่า น้ำนมแม่ คืออะไร?
ประโยชน์ของนมแม่:ประโยชน์ของการให้นมลูกของ "คุณแม่"
ประโยชน์ของนมแม่:ประโยชน์ของการให้นมลูกของ "คุณแม่"
30 พฤษภาคม 2023 18:37
ทราบหรือไม่ว่าการให้นมลูกน้อย มีประโยชน์กับตัวคุณแม่เป็นอย่างมาก แต่จะมากแค่ไหนต้องไปชมกัน
5 วิธีป้องกัน "โรคฟันผุจากขวดนม" เมื่อลูกติดขวดนมก่อนนอน
5 วิธีป้องกัน "โรคฟันผุจากขวดนม" เมื่อลูกติดขวดนมก่อนนอน
08 ธันวาคม 2022 04:55
คุณแม่หลายท่านอาจประสบปัญหาลูกมักจะหลับไปพร้อมกับขวดนม ซึ่งการติดขวดนมตอนกลางคืนของเจ้าตัวน้อย อาจนำไปสู่โรคฟันผุจากขวดนม และส่งผลกระทบ ให้เกิดปัญหาอื
พ่อแม่ควรระวัง! โรคใคร่เด็กจากคนรอบตัว
พ่อแม่ควรระวัง! โรคใคร่เด็กจากคนรอบตัว
09 ธันวาคม 2022 10:54
อันตรายมีอยู่รอบด้าน บางครั้งก็ไม่เลือกคน หรือสถานที่ ซึ่งอันตรายจากการโดนล่วงละเมิดทางเพศที่เรากำลังจะพูดถึงสามารถเกิดขึ้นได้กับเด็กทุกเพศ และสามารถเ
ปานแดงในเด็ก อันตรายหรือไม่? ควรเอาออกไหม?
ปานแดงในเด็ก อันตรายหรือไม่? ควรเอาออกไหม?
07 ธันวาคม 2022 04:46
ปานแดงในเด็กเล็ก หรือเนื้องอกหลอดเลือดในเด็กเป็นเรื่องที่คุณพ่อคุณแม่ต้องสังเกตอย่างใกล้ชิด แม้ไม่พัฒนาไปเป็นเนื้อร้าย แต่อาจทำให้เกิดความผิดปกติของผิ