🔸มาแชร์ความรู้เรื่อง ระยะเวลาที่ลูกตื่นได้ (wake window) ให้แม่ๆหลายท่านนำไปใช้นะคะ
🔸 เพื่อแก้ปัญหาอาการเหนื่อยเกินไป (overtired) คือ ร้องไห้หนักก่อนนอน / อยากนอนแต่ไม่สามารถนอนได้ / นอนกลางวันสั้นมากๆ 20-25 นาที / ตื่นเช้ามืด / ตื่นบ่อยเวลากลางคืน / กินนมยากหรือหงุดหงิดเวลาให้นม /หงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่ดีเป็นส่วนใหญ่
🔸 เพื่อแก้ปัญหาอาการเหนื่อยน้อยเกินไป (undertired) คือ นอนกลางวันสั้นแต่สามารถจบวงจรการนอน 30-45 นาที / ตื่นมาตาใสดูไม่ง่วง / ตื่นเช้ามากกว่าปกติ / ตื่นบ่อยเวลากลางคืนตื่นนานกว่าจะกลับไปหลับต่อ
🔸ใช้ได้ทั้งเด็กกล่อมตัวเองและเด็กติดตัวช่วยการนอนทุกรูปแบบ
1 เดือน / ww 45นาที-1ชม.
2 เดือน / ww 1.15 ชม.
3 เดือน / ww 1.30 ชม.
4 เดือน / ww 2 ชม.
5 เดือน / ww 2.15 ชม.
6 เดือน / ww 2.30 ชม.
7 เดือน / ww 2.45 ชม.
8 เดือน / ww 3 ชม.
9 เดือน / ww 3-3.30 ชม.
10 เดือน / ww 3.30-4 ชม.
11-12 เดือน / ww 4 ชม.
13-18 เดือน / ww 4-5 ชม.
18 เดือน-2.5 ปี /ww 5-5.30 ชม.
2.5-3 ปี /ww 5.30-6 ชม.
✅ ตัวอย่างเช่น อายุ 8 เดือน เด็กน้อยที่บ้าน
ตื่นนอน 7.00 น.
นอนกลางวันรอบที่ 1 เวลา 10.00 -12.00
นอนกลางวันรอบที่ 2 เวลา 15.00-16.00
เข้านอนกลางคืน เวลา 19.00 น.
😴เวลานอนรวมทั้งกลางวันกลางคืน 15 ชม. (เลิกมื้อดึก)
❌เลิกมื้อดึก คือ นับตั้งแต่เวลาวางนอนจนถึงเวลา 6.00 น. ถ้าให้กินนมก่อนถือว่า ไม่ใช่การเลิกมื้อดึก
✅ เด็กแต่ละคน ระยะเวลาการตื่นแตกต่างกันแต่จะไม่เกิน 10-15 นาที ถ้าเกินมากกว่านี้อาจจะทำให้มีอาการ overtired แต่ถ้าระยะเวลาการตื่นน้อยกว่านี้อาจจะทำให้มีอาการ undertired
❌ ซึ่งล้วนแต่เป็นปัญหาการนอนทั้งสิ้น ส่งผลให้พัฒนาการต่างๆไม่ดีตามไปด้วย
🔸 เพื่อแก้ปัญหาอาการเหนื่อยเกินไป (overtired) คือ ร้องไห้หนักก่อนนอน / อยากนอนแต่ไม่สามารถนอนได้ / นอนกลางวันสั้นมากๆ 20-25 นาที / ตื่นเช้ามืด / ตื่นบ่อยเวลากลางคืน / กินนมยากหรือหงุดหงิดเวลาให้นม /หงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่ดีเป็นส่วนใหญ่
🔸 เพื่อแก้ปัญหาอาการเหนื่อยน้อยเกินไป (undertired) คือ นอนกลางวันสั้นแต่สามารถจบวงจรการนอน 30-45 นาที / ตื่นมาตาใสดูไม่ง่วง / ตื่นเช้ามากกว่าปกติ / ตื่นบ่อยเวลากลางคืนตื่นนานกว่าจะกลับไปหลับต่อ
🔸ใช้ได้ทั้งเด็กกล่อมตัวเองและเด็กติดตัวช่วยการนอนทุกรูปแบบ
1 เดือน / ww 45นาที-1ชม.
2 เดือน / ww 1.15 ชม.
3 เดือน / ww 1.30 ชม.
4 เดือน / ww 2 ชม.
5 เดือน / ww 2.15 ชม.
6 เดือน / ww 2.30 ชม.
7 เดือน / ww 2.45 ชม.
8 เดือน / ww 3 ชม.
9 เดือน / ww 3-3.30 ชม.
10 เดือน / ww 3.30-4 ชม.
11-12 เดือน / ww 4 ชม.
13-18 เดือน / ww 4-5 ชม.
18 เดือน-2.5 ปี /ww 5-5.30 ชม.
2.5-3 ปี /ww 5.30-6 ชม.
✅ ตัวอย่างเช่น อายุ 8 เดือน เด็กน้อยที่บ้าน
ตื่นนอน 7.00 น.
นอนกลางวันรอบที่ 1 เวลา 10.00 -12.00
นอนกลางวันรอบที่ 2 เวลา 15.00-16.00
เข้านอนกลางคืน เวลา 19.00 น.
😴เวลานอนรวมทั้งกลางวันกลางคืน 15 ชม. (เลิกมื้อดึก)
❌เลิกมื้อดึก คือ นับตั้งแต่เวลาวางนอนจนถึงเวลา 6.00 น. ถ้าให้กินนมก่อนถือว่า ไม่ใช่การเลิกมื้อดึก
✅ เด็กแต่ละคน ระยะเวลาการตื่นแตกต่างกันแต่จะไม่เกิน 10-15 นาที ถ้าเกินมากกว่านี้อาจจะทำให้มีอาการ overtired แต่ถ้าระยะเวลาการตื่นน้อยกว่านี้อาจจะทำให้มีอาการ undertired
❌ ซึ่งล้วนแต่เป็นปัญหาการนอนทั้งสิ้น ส่งผลให้พัฒนาการต่างๆไม่ดีตามไปด้วย
🔸อาการคือ จากเมื่อก่อนเป็นเด็กนอนง่ายกล่อมหลับ จะกลายร่างเป็นเด็กนอนยากมากๆ กล่อมเป็นชั่วโมงวางนอนตื่น หรือไม่ยอมให้กล่อม แต่ก็ไม่สามารถนอนได้เอง เพราะไม่มีทักษะการกล่อมตัวเอง
🔸บ้านแม่ไม่มีปัญหาเรื่องนี้เพราะแม่ฝึกน้องนอนเองโดยไม่มีตัวช่วย